ข้อมูลการค้าการลงทุนมอริเตเนีย

ข้อมูลการค้าการลงทุนมอริเตเนีย

วันที่นำเข้าข้อมูล 20 ต.ค. 2558

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 30 พ.ย. 2565

| 7,318 view

สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย

 

  1. รายชื่อ ที่อยู่ที่ติดต่อของหน่วยงานและองค์กรที่สำคัญ
    1. หน่วยงานรัฐบาล
      • Customs Office Tel: +222 5251404 / 525 6302
      • Ministry of Commerce and Industry : Direction of Promotion of Foreign Commerce,  Mr. Mohamed Ould Hitt, Director Tel: +222 525 3572  GSM: +222 644-6088 [email protected]
      • Ministry of Economy and Finance, Delegation for Private Sector Development, Mr. Mohamed Salem Ould Abdessalam, Director Tel:+222 529 0345 Fax: +22 529 1290
      • Ministry of Fishing and Maritime Economy, Direction of Promotion of Seafood email [email protected]
  2. หน่วยงานเอกชน
  • Mauritanian Employers Association Tel: +222 5252160 / 525 3301
  • National Fishing Association Tel: +222 574 5089 /Fax (222) 574-5430
  • Chamber of Commerce  and Industry www.cciam.mr email [email protected]
  • Mauritanian Information Center for Economic and Technical Development www.cimdet.mr
  • National Fishing Association [email protected]  Tel: +222 574 5089 Fax: +222 574 5430
  1. สาขาธุรกิจ การค้า การบริการ และอุตสาหกรรมที่ไทยมีโอกาสสูง
  • สินค้าที่ไทยมีโอกาสสูงได้แก่ สินค้าด้านอาหาร เช่น ข้าว น้ำผลไม้ ปลากระป๋อง ปลาทูน่า เป็นต้น
  • มอริเตเนียมีศักยภาพทางทรัพยากรทางทะเลสูง โดยเฉพาะสัตว์น้ำ โดยคาดว่ามีสัตว์น้ำให้จับประมาณ 1.5 ล้านตัน/ปี  อย่างไรก็ดี รัฐบาลมอริเตเนียมีการลงนามกับสหภาพยุโรปเพื่ออนุญาตให้เรือประมงสัญชาติยุโรปเข้าไปจับสัตว์น้ำในเขตทางทะเลได้ โดยสหภาพยุโรปต้องจ่ายค่าโควต้ามูลค่า 100 ล้านยูโร/ปีให้กับมอริเตเนีย  ซึ่งหากเอกชนไทยต้องการเข้าไปทำการประมงในมอริเตเนียอาจต้องร่วมลงทุนกับเอกชนยุโรป
  • มอริเตเนียมีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซนอกชายฝั่ง ซึ่งการส่งออกน้ำมันมีสัดส่วนถึงร้อยละ 50 ของการส่งออกทั้งหมด
  1. สินค้าเป้าหมาย สินค้าที่มีแนวโน้มขยายตัว และสินค้าไทยที่ตลาดให้การยอมรับในโมร็อกโก
  • สินค้าด้านอาหารต่าง โดยเฉพาะข้าวสาร และข้าวนึ่ง
  1. กฎระเบียบด้านการค้า การนำเข้า/ส่งออกที่สำคัญ
  • มอริเตเนียมีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า/ส่งออก และลงทุนค่อนข้างซับซ้อน  โดยเฉพาะระเบียบที่เกี่ยวข้องกับศุลกากร และใช้เวลานานและค่าใช้จ่ายสูงหากไม่คุ้นเคย
  • สินค้าจะต้องมีป้ายและคำอธิบายเป็นภาษาอาหรับหรือฝรั่งเศส
  1. ข้อแนะนำเกี่ยวกับการทำการตลาด ช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
  • ควรมีคู่ค้า/พันธมิตรท้องถิ่นที่รู้มีเครือข่ายมาก และเชื่อถือได้